วันที่ 16 พฤศจิกายน 2555
- อาจารย์ให้นักศึกษาจัดกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ทำกิจกรรมดังต่อไปนี้
1. ความหมายของคณิตศาสตร์
2. จุดประสงค์ของคณิตศาสตร์
3. ทฤษฏีการสอนของคณิตศาสตร์
4. ขอบเขตการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
5. หลักการทางคณิตศาสตร์
(ซึ่งจะนำเอาเนื้อหาของแต่ละคนในกลุ่มมาสรุปรวมเป็นความคิดของเราเองให้สมบูรณ์)
(อ้างอิงจาก : เอกสารเสริมความรู้ครูคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา, วัตร พรหมเพ็ญ หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและกรมวิชาการ)
องค์ความรู้ที่ได้จากตนเอง
1. ค้นคว้าด้วยตนเอง
2. กลั่นกรองข้อมูลที่ได้รับ
3. เกิดเป็นความรู้ใหม่+ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่
4. ความรู้แตกฉาน
5. เกิดองค์ความรู้ใหม่
2. จุดประสงค์ของคณิตศาสตร์
3. ทฤษฏีการสอนของคณิตศาสตร์
4. ขอบเขตการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
5. หลักการทางคณิตศาสตร์
(ซึ่งจะนำเอาเนื้อหาของแต่ละคนในกลุ่มมาสรุปรวมเป็นความคิดของเราเองให้สมบูรณ์)
- อาจารย์ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำเสนองานของตนให้เพื่อนฟัง
- อาจารย์สรุปเนื้อหาและวิธีการเรียนรู้ที่จะประสบความสำเร็จ
สรุปโดย 1. นางสาวพลอยไพลิน อาจหาญ
2. นางสาวชลันดา คำจันทร์
3. นางสาวสมฤดี โพธิกะ
1. ความหมายของคณิตศาสตร์
2. นางสาวชลันดา คำจันทร์
3. นางสาวสมฤดี โพธิกะ
1. ความหมายของคณิตศาสตร์
ความหมายของคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับตัวเลข
มีการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เป็นภาษาสากลที่มีโครงสร้างแน่นอนและมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน
(อ้างอิงจาก : มาร์เชล สโตน, ฉวีวรรณ กีรติกร หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและ สักดา บุญโท หนังสือความคิดเชิงวิเคราะห์)
(อ้างอิงจาก : มาร์เชล สโตน, ฉวีวรรณ กีรติกร หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและ สักดา บุญโท หนังสือความคิดเชิงวิเคราะห์)
2. จุดมุ่งหมายของคณิตศาสตร์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานในการคิดและการคำนวณ
สามารถนำประสบการณ์ทางด้านความรู้ ความคิด
และทักษะที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันได้
(อ้างอิงจาก : เรวัตร พรหมเพ็ญ หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา, สุเทพ จันทร์สมศักดิ์ หนังสือการวัดและการประเมินผลในชั้นเรียนกลุ่มทักษะคณิตศาสตร์และสักดา บุญโท หนังสือความคิดเชิงวิเคราะห์)
(อ้างอิงจาก : เรวัตร พรหมเพ็ญ หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา, สุเทพ จันทร์สมศักดิ์ หนังสือการวัดและการประเมินผลในชั้นเรียนกลุ่มทักษะคณิตศาสตร์และสักดา บุญโท หนังสือความคิดเชิงวิเคราะห์)
3. ทฤษฏีของคณิตศาสตร์
ลำดับของการเรียนการสอนในคณิตศาสตร์เริ่มจากการทบทวนความรู้เดิมแล้วสอนความรู้ใหม่ด้วยการแสดงความคิด
ความพร้อม การฝึกฝนหรือฝึกทักษะ การเสริมแรงและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(อ้างอิงจาก : ดีนส์ เอกสารเสริมความรู้ครูคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา, วัตร พรหมเพ็ญ หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและกรมวิชาการ)
(อ้างอิงจาก : ดีนส์ เอกสารเสริมความรู้ครูคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา, วัตร พรหมเพ็ญ หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและกรมวิชาการ)
4. ขอบเขตการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ คุณครูและนักเรียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานในทุกเรื่องก่อน
ซึ่งเนื้อหาคณิตศาสตร์แต่ละพื้นฐานต้องมีความสัมพันธ์กันและเหมาะสมกับวัยหรือวุฒิภาวะของผู้เรียน
(อ้างอิงจาก : เอกสารเสริมความรู้ครูคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา, วัตร พรหมเพ็ญ หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและสภาครูคณิตศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา)
(อ้างอิงจาก : เอกสารเสริมความรู้ครูคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา, วัตร พรหมเพ็ญ หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและสภาครูคณิตศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา)
5. หลักการทางคณิตศาสตร์
1.
กำหนดจุดมุ่งหมาย
2.
จัดกิจกรรมให้หลากหลาย
3.
การเรียนรู้จากการค้นพบ
4.
การจัดกิจกรรมที่มีระบบ
5.
ฝึกหัดหลังจากที่เรียนรู้
ดังนั้น
กระบวนการสอนถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญสุดเพราะถ้าครูสอนทำแบบฝึกหัดแล้วเฉลย เด็กจะไม่ได้ฝึกทักษะเลย ทำให้เด็กเกิดความเบื่อหน่าย ไม่อยากเรียน
และคิดว่าคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ยาก (อ้างอิงจาก : เอกสารเสริมความรู้ครูคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา, วัตร พรหมเพ็ญ หนังสือพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและกรมวิชาการ)
ความรู้ที่ได้รับ
วัตถุประสงค์ของการทำงานในครั้งนี้ คือ ให้นักศึกษาเห็นวิธีการเรียนรู้จากตนเององค์ความรู้ที่ได้จากตนเอง
1. ค้นคว้าด้วยตนเอง
2. กลั่นกรองข้อมูลที่ได้รับ
3. เกิดเป็นความรู้ใหม่+ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่
4. ความรู้แตกฉาน
5. เกิดองค์ความรู้ใหม่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น